Kharacheri avalokitesvara
Literally meaning: avalokita [looking on], isvara [lord]'The lord who looks in every direction'[Tib.] spyan-ras-gzigs Color: whiteMudra: namaskara [prayer] Mantra: Om, mani, padme, hum! Symbols: mala[rosary] Vija [seed] mantra: Hri Padma [lotus] Dhyani-Buddha: Amitabha
'Once upon a time, Amitabha, the fourth Dhyani-Buddha and Buddha of Infinite Light, after giving himself up to earnest meditation, caused a white ray of light to issue from his right eye, which brought Avalokitesvara into existence'. Amitabha blessed him, whereupon the Bodhisattva brought forth the prayer: 'Om, mani, padme, hum! Thus Avalokitesvara is regarded as spiritual son of Dhyani-Buddha Amitabha. As the personification of power, the all-pitying one, he is the most popular divinity in the Mahayana [great vehicle] pantheon and is subject of much veneration in Nepal Tibet.
Avalokitesvara is in reality a kind of pope 'existing eternally in the heavens as a vicar of one of the Buddhas of present age, but delegating his functions to a succession of earthly popes in whom he is perpetually incarnated and reincarnated, while at the same time preserving his personality in his own heaven.
Buddhist legend claims that he manifested in 108 forms on earth for saving humankind, and as human like he reincarnates in every successive Dalai Lama.
Mantra of Avalokiteshvara: "OM Mani Padame Hum ", [tibet.: "OM MANI PEME HUNG"]
พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์ธิเบตเรียก เชนเรซิก จีนเรียก พระโพธิสัตว์กวนอิม เป็นที่เคารพนับถือของชาวพุทธทั่วโลก พระองค์ทรงเป็นตัวแทนแห่งพระมหากรุณาของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระองค์ถือกำเนิดขึ้นด้วยพระมหากรุณาแห่งพระอมิตาภะพุทธเจ้า น้ำตาแห่งความสงสารในความหลงผิดของสรรพสัตว์ บังเกิดเป็นองค์พระอวโลติเกศวรขึ้น เพื่อทำหน้าที่ชักจูงสรรพสัตว์พ้นห้วงทุกข์ในภาพพระโพธิสัตว์ทรงพระขรรด์คือพระมัญชูศรีโพธิสัตว์ซึ่งทรงเป็นตัวแทนแห่งพระปัญญาแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง และพระโพธิสัตว์อีกองค์ที่หน้าดุๆคือวัชรปาณีโพธิสัตว์ซึ่งเป็นตัวแทนแห่งพลังของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์โปรดสัตว์ในปางต่างๆมากมายเพื่อให้เหมาะสมแก่ภาระกิจที่จะโปรดในแต่ละครั้ง มหากรุณาเป็นคุณสมบัติประการหนึ่งที่เป็นตัวบ่งบอกคุณลักษณะของความเป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระโพธิสัตว์ และเป็นพื้นฐานสำคัญประการหนึ่งที่ต้องปฏิบัติในการปฏิบัติพุทธตันตระธรรม โดยใช้ชื่อเรียกว่า โพธิจิต หลักการของโพธิจิต คือการตั้งปณิธานในการปฏิบัติเพื่อนำพาสรรพสัตว์ให้พ้นจากทุกข์หรือช่วยยกระดับของสรรพสัตว์ให้สูงขึ้น การให้สิ่งที่ดีแก่ผู้อื่นแน่นอนผู้รับย่อมได้ผลจากการนั้น แต่ผลที่ผู้ให้ได้รับนั้นยิ่งใหญ่กว่า การเห็นธรรมชาติของอัตตา อนัตตา อารมณ์ ความโลภ ความโกรธ ทุกประการเกิดขึ้นพร้อมกัน โพธิจิตเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าเรายังคงยึดถือในอัตตา ความโลภ ความโกรธ ดังนั้นผลแห่งการตั้งปณิธานในโพธิจิตผู้ให้จึงเป็นผู้ได้รับผลอย่างแท้จริงพระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์ในภาพเป็นปางสี่แขนซึ่งชาวธิเบตถือว่าท่านเป็นผู้ปกป้องชาวธิเบต ชาวธิเบตมากกว่า99เปอร์เช็นที่บูชาท่านและภาวนาคาถาหัวใจของท่านอยู่เป็นประจำ โอมมานีเปดเมโฮุม มีทั่วทุกซอกทุกมุมของธิเบต องค์อวโลติเกศวรโพธิสัตว์ท่านพระวรกายสีขาวกระจ่างสดใส สวมมงกุฎพุทธเจ้าห้าพระองค์ ผมดำมวยเป็นจุก สองมือพนมถือจินดามณี มือขวาถือประคำหินผลึก มือซ้ายถือดอกบัวแปดกลีบ ใบหน้ายิ้มน้อยๆฉายแววแห่งพระเมตตา เชื่อกันว่าสายตาของท่านมองสู่ผู้ใดผู้นั้นได้รับพลังในการบำบัดทุกข์ ไหล่ซ้ายมีหนังกวางพาดอยู่ สวมอาภรณ์สัมโภคกายห้าสี นุ่งผ้าไหมสีแดง สวมเครื่องประดับกายหลากหลาย โดยเฉพาะสวมสร้อยสามเส้น เส้นแรกสั้นอยู่บริเวณคอ เส้นที่สองอยู่บริเวณอก เส้นที่สามยาวถึงสะดือ นั่งในท่าวัชรอาสน์บนแท่นบัวรัศมีจันทร์ ประกายแสงห้าสีเปล่งออกจากพระวรกายความหมายแห่งองค์ท่าน เศียรเดียวคือความรู้แจ้งแทงตลอดในพุทธธรรม สี่แขนหมายถึงพรหมวิหารสี่ กายขาวคือจิตเดิมทรงความบริสุทธิ์ปราศจากมลทินทั้งมวล ไม่ตกอยู่ในภาวะสงสัยลังเลสับสน มงกุฎคือปัญญาแห่งพระพุทธเจ้าทั้งห้า ผมดำคือความบริสุทธิ์แห่งสภาวะปัจจุบัน อาภรณ์ห้าสีเปรียบดังพระพุทธเจ้าห้าพระองค์ สีแดงของผ้านุ่งคือสัญลักษณ์แห่งตระกูลปัทม ตุ้มหูเปรียบดังการคอยฟังเสียงร้องขอความช่วยเหลือจากสรรพสัตว์ทั้งหกภูมิ สร้อยคอสั้นคือการปฏิบัติได้มาซึ่งฌานองค์อักโษภยพุทธเจ้า สร้อยขนาดกลางคือการปฏิบัติได้มาซึ่งทานบารมีแห่งองค์พระรัตนสัมภวพุทธเจ้า สร้อยเส้นยาวคือการปฏิบัติได้มาซึ่งขันติบารมีแห่งองค์อโมฆสิทธิพุทธเจ้า ท่านั่งคือการหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ท่าพนมมือคือปัญญาและพลังแห่งหนทาง ลูกประคำเปรียบดังการหลุดพ้นของสรรพสัตว์หนึ่งลูกต่อหนึ่งชีวิตที่พ้นทุกข์ ความหมายในคาถาหัวใจโอม สีขาว คือองค์ปัญญาของท่าน ฌานบารมีของท่านได้ขจัดความเฉื่อยชา หลงในความสุขสบายของอัตตา ไม่ต้องเข้าสู่ภูมิเทวดา ดุจดังพระรัตนสัมภวะพุทธเจ้าทางทิศใต้มา สีเขียว คือเมตตาจิตของท่าน ขันติบารมีของท่านได้ขจัดความริษยา การแสวงหาชัยชนะด้วยเล่ห์กลต่างๆ ไม่ต้องเข้าสู่ภูมิอสูร ดุจดังพระอโมฆสิทธิพุทธเจ้าทางทิศเหนือนี สี เหลือง คือกาย วาจา ใจ การกระทำ และบุญบารมีของท่าน ศีลบารมีของท่านได้ขจัดความยึดติดในตน ความปารถนาไม่สิ้นสุด ไม่ต้องเข้าสู่ภูมิมนุษย์ ดุจดังพระวัชรปาณิโพธิสัตว์เปด สีฟ้า คือเสมอภาพ ปัญญาบารมีของท่านได้ขจัดความโง่เขลา ชาด้าน เก็บกด ไม่ต้องเข้าสู่ภูมิเดรัจฉาน ดุจดังพระไวโรจนพุทธเจ้าอยู่ตรงศูนย์กลางเม สีแดง คือความอิสระ ความมั่งคั่ง ทานบารมีของท่านได้ขจัดความโลภ ความหิวกระหาย ไม่ต้องเข้าสู่ภูมิเปรต ดุจดังพระอมิตภพุทธเจ้าทางทิศตะวันตกโฮุม สีดำ คือมหาเมตตากรุณา วิริยะบารมีของท่านได้ขจัดความโกรธแค้น การต้องการทำลาย ไม่ต้องเข้าสู่นรกภูมิ ดุจดังพระอักโษภยพุทธเจ้าทางทิศตะวันออกอานิสงฆ์ในการปฏิบัติธรรมในองค์พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์ดุจดังแก้วสารพัดนึก
Print Page
Literally meaning: avalokita [looking on], isvara [lord]'The lord who looks in every direction'[Tib.] spyan-ras-gzigs Color: whiteMudra: namaskara [prayer] Mantra: Om, mani, padme, hum! Symbols: mala[rosary] Vija [seed] mantra: Hri Padma [lotus] Dhyani-Buddha: Amitabha
'Once upon a time, Amitabha, the fourth Dhyani-Buddha and Buddha of Infinite Light, after giving himself up to earnest meditation, caused a white ray of light to issue from his right eye, which brought Avalokitesvara into existence'. Amitabha blessed him, whereupon the Bodhisattva brought forth the prayer: 'Om, mani, padme, hum! Thus Avalokitesvara is regarded as spiritual son of Dhyani-Buddha Amitabha. As the personification of power, the all-pitying one, he is the most popular divinity in the Mahayana [great vehicle] pantheon and is subject of much veneration in Nepal Tibet.
Avalokitesvara is in reality a kind of pope 'existing eternally in the heavens as a vicar of one of the Buddhas of present age, but delegating his functions to a succession of earthly popes in whom he is perpetually incarnated and reincarnated, while at the same time preserving his personality in his own heaven.
Buddhist legend claims that he manifested in 108 forms on earth for saving humankind, and as human like he reincarnates in every successive Dalai Lama.
Mantra of Avalokiteshvara: "OM Mani Padame Hum ", [tibet.: "OM MANI PEME HUNG"]
พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์ธิเบตเรียก เชนเรซิก จีนเรียก พระโพธิสัตว์กวนอิม เป็นที่เคารพนับถือของชาวพุทธทั่วโลก พระองค์ทรงเป็นตัวแทนแห่งพระมหากรุณาของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระองค์ถือกำเนิดขึ้นด้วยพระมหากรุณาแห่งพระอมิตาภะพุทธเจ้า น้ำตาแห่งความสงสารในความหลงผิดของสรรพสัตว์ บังเกิดเป็นองค์พระอวโลติเกศวรขึ้น เพื่อทำหน้าที่ชักจูงสรรพสัตว์พ้นห้วงทุกข์ในภาพพระโพธิสัตว์ทรงพระขรรด์คือพระมัญชูศรีโพธิสัตว์ซึ่งทรงเป็นตัวแทนแห่งพระปัญญาแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง และพระโพธิสัตว์อีกองค์ที่หน้าดุๆคือวัชรปาณีโพธิสัตว์ซึ่งเป็นตัวแทนแห่งพลังของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์โปรดสัตว์ในปางต่างๆมากมายเพื่อให้เหมาะสมแก่ภาระกิจที่จะโปรดในแต่ละครั้ง มหากรุณาเป็นคุณสมบัติประการหนึ่งที่เป็นตัวบ่งบอกคุณลักษณะของความเป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระโพธิสัตว์ และเป็นพื้นฐานสำคัญประการหนึ่งที่ต้องปฏิบัติในการปฏิบัติพุทธตันตระธรรม โดยใช้ชื่อเรียกว่า โพธิจิต หลักการของโพธิจิต คือการตั้งปณิธานในการปฏิบัติเพื่อนำพาสรรพสัตว์ให้พ้นจากทุกข์หรือช่วยยกระดับของสรรพสัตว์ให้สูงขึ้น การให้สิ่งที่ดีแก่ผู้อื่นแน่นอนผู้รับย่อมได้ผลจากการนั้น แต่ผลที่ผู้ให้ได้รับนั้นยิ่งใหญ่กว่า การเห็นธรรมชาติของอัตตา อนัตตา อารมณ์ ความโลภ ความโกรธ ทุกประการเกิดขึ้นพร้อมกัน โพธิจิตเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าเรายังคงยึดถือในอัตตา ความโลภ ความโกรธ ดังนั้นผลแห่งการตั้งปณิธานในโพธิจิตผู้ให้จึงเป็นผู้ได้รับผลอย่างแท้จริงพระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์ในภาพเป็นปางสี่แขนซึ่งชาวธิเบตถือว่าท่านเป็นผู้ปกป้องชาวธิเบต ชาวธิเบตมากกว่า99เปอร์เช็นที่บูชาท่านและภาวนาคาถาหัวใจของท่านอยู่เป็นประจำ โอมมานีเปดเมโฮุม มีทั่วทุกซอกทุกมุมของธิเบต องค์อวโลติเกศวรโพธิสัตว์ท่านพระวรกายสีขาวกระจ่างสดใส สวมมงกุฎพุทธเจ้าห้าพระองค์ ผมดำมวยเป็นจุก สองมือพนมถือจินดามณี มือขวาถือประคำหินผลึก มือซ้ายถือดอกบัวแปดกลีบ ใบหน้ายิ้มน้อยๆฉายแววแห่งพระเมตตา เชื่อกันว่าสายตาของท่านมองสู่ผู้ใดผู้นั้นได้รับพลังในการบำบัดทุกข์ ไหล่ซ้ายมีหนังกวางพาดอยู่ สวมอาภรณ์สัมโภคกายห้าสี นุ่งผ้าไหมสีแดง สวมเครื่องประดับกายหลากหลาย โดยเฉพาะสวมสร้อยสามเส้น เส้นแรกสั้นอยู่บริเวณคอ เส้นที่สองอยู่บริเวณอก เส้นที่สามยาวถึงสะดือ นั่งในท่าวัชรอาสน์บนแท่นบัวรัศมีจันทร์ ประกายแสงห้าสีเปล่งออกจากพระวรกายความหมายแห่งองค์ท่าน เศียรเดียวคือความรู้แจ้งแทงตลอดในพุทธธรรม สี่แขนหมายถึงพรหมวิหารสี่ กายขาวคือจิตเดิมทรงความบริสุทธิ์ปราศจากมลทินทั้งมวล ไม่ตกอยู่ในภาวะสงสัยลังเลสับสน มงกุฎคือปัญญาแห่งพระพุทธเจ้าทั้งห้า ผมดำคือความบริสุทธิ์แห่งสภาวะปัจจุบัน อาภรณ์ห้าสีเปรียบดังพระพุทธเจ้าห้าพระองค์ สีแดงของผ้านุ่งคือสัญลักษณ์แห่งตระกูลปัทม ตุ้มหูเปรียบดังการคอยฟังเสียงร้องขอความช่วยเหลือจากสรรพสัตว์ทั้งหกภูมิ สร้อยคอสั้นคือการปฏิบัติได้มาซึ่งฌานองค์อักโษภยพุทธเจ้า สร้อยขนาดกลางคือการปฏิบัติได้มาซึ่งทานบารมีแห่งองค์พระรัตนสัมภวพุทธเจ้า สร้อยเส้นยาวคือการปฏิบัติได้มาซึ่งขันติบารมีแห่งองค์อโมฆสิทธิพุทธเจ้า ท่านั่งคือการหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ท่าพนมมือคือปัญญาและพลังแห่งหนทาง ลูกประคำเปรียบดังการหลุดพ้นของสรรพสัตว์หนึ่งลูกต่อหนึ่งชีวิตที่พ้นทุกข์ ความหมายในคาถาหัวใจโอม สีขาว คือองค์ปัญญาของท่าน ฌานบารมีของท่านได้ขจัดความเฉื่อยชา หลงในความสุขสบายของอัตตา ไม่ต้องเข้าสู่ภูมิเทวดา ดุจดังพระรัตนสัมภวะพุทธเจ้าทางทิศใต้มา สีเขียว คือเมตตาจิตของท่าน ขันติบารมีของท่านได้ขจัดความริษยา การแสวงหาชัยชนะด้วยเล่ห์กลต่างๆ ไม่ต้องเข้าสู่ภูมิอสูร ดุจดังพระอโมฆสิทธิพุทธเจ้าทางทิศเหนือนี สี เหลือง คือกาย วาจา ใจ การกระทำ และบุญบารมีของท่าน ศีลบารมีของท่านได้ขจัดความยึดติดในตน ความปารถนาไม่สิ้นสุด ไม่ต้องเข้าสู่ภูมิมนุษย์ ดุจดังพระวัชรปาณิโพธิสัตว์เปด สีฟ้า คือเสมอภาพ ปัญญาบารมีของท่านได้ขจัดความโง่เขลา ชาด้าน เก็บกด ไม่ต้องเข้าสู่ภูมิเดรัจฉาน ดุจดังพระไวโรจนพุทธเจ้าอยู่ตรงศูนย์กลางเม สีแดง คือความอิสระ ความมั่งคั่ง ทานบารมีของท่านได้ขจัดความโลภ ความหิวกระหาย ไม่ต้องเข้าสู่ภูมิเปรต ดุจดังพระอมิตภพุทธเจ้าทางทิศตะวันตกโฮุม สีดำ คือมหาเมตตากรุณา วิริยะบารมีของท่านได้ขจัดความโกรธแค้น การต้องการทำลาย ไม่ต้องเข้าสู่นรกภูมิ ดุจดังพระอักโษภยพุทธเจ้าทางทิศตะวันออกอานิสงฆ์ในการปฏิบัติธรรมในองค์พระอวโลติเกศวรโพธิสัตว์ดุจดังแก้วสารพัดนึก
Print Page
Comments
Post a Comment