GREEN TARA

DIFFERENT Kind of Green Tara statues

GREEN TARA
[Sanskrit] SyamataraMudra [posture]: vitarka [argument] & vara [charity], Symbol: Blue lotus [utpala].
Tibetan Lamaism considers Green Tara to be the original Tara. In fact, the Tibetan name for the goddess is do-ngon, which means 'the original Tara'; but ngon, original has sometime been interpreted by some Lama with sngo, meaning 'green', and the epithet 'green' has become inseparable from this form of Tara, which symbolizes the Divine Energy.
Green Tara is represented seated on a lotus-throne, the right leg pendant, with the foot supported by a small lotus, the stem of which is attached to the lotus throne. She is slender, graceful in her pose, and dressed like a Bodhisattva and wears the five-leafed crown. These leaves of crown symbolize five Dhyani-Buddhas. Some time in her crown, the five Dhyani-Buddhas are figured.
Her hair is abundant and wavy. Her right hand is in 'charity' mudra, and her left, which is in 'argument' mudra, holds the lotus.
She has two full open [human] eyes, where as her another manifestation; the White Tara has seven meditation [half-closed] eyes. The goddess may also be represented with a small image of Amoghasiddhi [one of the five Dhyani-Buddhas] in her headdress.
Tibetan Lamaism believed that Tara was incarnate in all good women, and in the seventh century they declared the two pious of the Tibetan Buddhist king, sRong-tsan-sgam-po, incarnations of Tara. She was then given two distinct forms: the 'white' believed to be incarnate in the Chinese princess Wen-ch'eng, daughter of a Chinese prince belonging to imperial family; and the 'green Tara', incarnate in the Nepalese princess Brikuti, daughter of the king Ansu Verman. Both queens are believed to have brought with them various scriptures, images of Buddha and cult to Tibet. She is regarded as mother of all Buddha and savior of all sentient beings from worldly miseries.
Tara Mantra by Ani Choying Drolma (You Tube)
OM represents Tara's sacred body, speech and mind.
TARE means liberating from all discontent.
TUTTARE means liberating from the eight fears, the external dangers, but mainly from the internal dangers, the delusions.
TURE means liberating from duality; it shows the true cessation of confusion.
SOHA means "may the meaning of the mantra take root in my mind."
ธิเบตเรียก ดอล.มา.ชาง.คู. จีนเรียก เสี่ยกิ๊วโต๋วบ้อ หรือเลกโต๋วบ้อ ดอล มา ชาง คู ชื่อเดิมคือดารากวนอิมโพธิสัตว์ ดาราภาษาสันสกฤตคือพระแม่ผู้เมตตา ท่านเป็นปางอวตารปางหนึ่งของพระโพธิสัตว์กวนอิม และท่านก็คือองค์ที่ชาวจีนเรียกว่าน่ำไฮ้กวนอิม องค์กวนอิมโพธิสัตว์ท่านมีความผูกพันกันสรรพสัตว์ในวัฏฏสงสารมาก สรรพสัตว์ที่ตกอยู่ในทุกข์มีมากมายมหาศาลแต่ผู้ที่สามารถโปรดสัตว์ได้มีเพียงนิดเดียวประดุจน้ำหนึ่งหยดกับมหาสมุทร ด้วยพระเมตตาท่านจึงได้แบ่งภาคเพิ่มขึ้นเป็นกวนอิมพันมือเพื่อช่วยงานโปรดสัตว์ได้มากขึ้น แต่ก็ยังไม่พอ งานมากเกินกว่าจะทำได้ ท่านจึงได้แบ่งภาคเพิ่มขึ้นอีก เป็นองค์พระแม่ดาราเขียวหรือเสี่ยกิ๊วโต๋วบ้อซึ่งเป็นองค์หลักของพระแม่ดาราทั้งยี่สิบเอ็ดองค์(องค์ดาราเขียวที่เป็นหนึ่งในยี่สิบเอ็ด ไม่ใช่องค์หลักนี้ แต่เป็นการแบ่งภาคร่างขององค์หลัก) คนส่วนใหญ่รู้จักแต่กวนอิมโพธิสัตว์ไม่รู้จักพระแม่ดารา ซึ่งที่ถูกต้องแท้จริงแล้วภาพกวนอิมโพธิสัตว์ในรูปผู้หญิงเกือบทั้งหมดนั้นเป็นภาพของพระแม่ดาราซึ่งเกิดมาจากองค์หลักคือ กวนอิมโพธิสัตว์นั่นเอง ในอินเดียโบราณมีบทปฏิบัติในองค์พระแม่ดารามากมายเป็นไปตามภาคร่างที่ปรากฏ บางตำนานได้กล่าวไว้ว่าหลังจากพระแม่ดาราได้เกิดขึ้นแล้ว ได้ไปตั้งปณิธานต่อหน้าพระอโมฆสิทธิพุทธเจ้า ว่าจะโปรดสัตว์ทั่วจักรวาลให้พ้นจากทะเลทุกข์ และนี่เองเป็นที่มาของชื่อพระแม่ดาราเขียว อนิสงฆ์ในการปฏิบัติธรรมในองค์พระแม่ดารา ขจัดอกุศลกรรม หมู่มารหลีกหนี ขอบุตรชายหญิงได้สมใจ ขอทรัพย์ได้ทรัพย์ ขออายุได้อายุ ขอสุขภาพได้สุขภาพ สุดท้ายช่วยคุ้มครองปกป้องผู้ต้องการเข้าสู่พุทธภูมิให้ได้เข้าสู่พุทธภูมิ


Print Page

Comments